โคราชของเรา


รายละเอียด

      รวบรวมและเรียบเรียงความเป็นมาของมหานครโคราช เมืองสำคัญที่มีประวัติศาสตร์มายาวนาน เป็นแหล่งอารยธรรม และโบราณสถานมาแต่อดีตกาล จากหลักฐานวิชาการทางประวัติศาสตร์โบราณคดี ที่สะท้อนถึงความเปลี่ยนแปลงของมหานครเก่าแก่แห่งนี้ เป็นเมืองอุตสาหกรรมที่มีการลงทุนครบทุกด้าน เปรียบเสมือนเมืองหลวงของภาคอีสาน เป็นประตูสู่ภาคอีสาน และสู่อินโดจีน จากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคต ได้ร้อยเรียงด้วยภาษาที่อ่านง่าย มีภาพประกอบ แผนที่ และแผนผัง ตลอดทั้งเล่ม

สารบัญ

      โคราชของเรา--ภูมิประเทศแอ่งโคราช--ลุ่มน้ำแอ่งโคราช--ที่ราบสูงโคราช--แผนผังและรูปตัดแสดงระดับพื้นที่ [01] 1,000,000 ปีมาแล้วโลกล้านปี ที่ลุ่มน้ำมูล--[02] 500,000 ปีมาแล้วบรรพชนคนไทยสมัยแรก ๆ--[03] 10,000 ปีมาแล้วบรรพชนคนไทยสมัยแรกๆ--[04] 5,000 ปีมาแล้วชุมชนเริ่มแรก ของบรรพชนคนอีสาน--[05] 3,000 ปี มาแล้วชุมชนคนโคราชยุคแรก--[06] หลัง พ.ศ. 1 (2,500 ปีมาแล้ว) เหล็กและเกลือ สร้างความมั่นคั่ง--[07] หลัง พ.ศ. 500 (2,000 ปี มาแล้ว) วัฒนธรรมร่วม บนเส้นทางการค้าโลก--[08] หลัง พ.ศ. 1000 แรกมี เมืองพิมาย, เมืองเสมา--[09] หลัง พ.ศ. 1500 พิมาย ลุ่มน้ำมูล แหล่งเดิมบรรพชน "ขอม"--[10] หลัง พ.ศ. 1700 ชัยวรมันที่ 7 คุมโคราช และโขง-ชี-มูล--[11] หลัง พ.ศ. 1800 รัฐสุโขทัย เกี่ยวดองบ้านเมืองลุ่มน้ำมูล--[12] หลัง พ.ศ. 1900 รัฐอยุธยา ควบคุมลุ่มน้ำมูล--[13] หลัง พ.ศ. 2000 สถาปนาเมืองนครราชสีมา สร้างกำแพงอิฐ--[14] หลัง พ.ศ. 2200 แย่งยึด เมืองโคราช--[15] กรุงแตก โคราชไม่แตก--[16] พ.ศ. 2311 พระเจ้าตาก ตีได้เมืองพิมาย ควบคุมลำน้ำมูล--[17] พ.ศ. 2316 วรรณกรรมพิมาย--[18] พ.ศ. 2323 เจ้าเมืองนครราชสีมา สมัยพระเจ้าตาก--[19] เจ้าเมืองโคราช ในจลาจลเมืองธนบุรี--[20] เจ้าเมองโคราช ยุครัตนโกสินทร์--[21] พ.ศ. 2369 เจ้าอนุ เวียงจัน ยึดโคราช--[22] พ.ศ. 2399 ดงพญาไฟ เป็นดงพญาเย็น--[23] พ.ศ. 2418 กองทัพ ร.5 ที่โคราช เล่นโขนละคร--[24] พ.ศ. 2434 มณฑลนครราชสีมา--[25] พ.ศ. 2442 ชาวโคราช "ชาติไทยบังคับสยาม"--[26] พ.ศ. 2443 ทางรถไฟถึงโคราช--[27] พ.ศ. 2456 โคราชอยู "อีสาน" ของกรุงเทพฯ--[28] พ.ศ. 2475 เปลี่ยนการปกครอง--[29] พ.ศ. 2476 กบฏวรเดช--[30] พ.ศ. 2482 ชาวโคราช เป็น "คนไทย"--[31] พ.ศ. 2485 ลิเกโคราช--[32] พ.ศ. 2501 ถนนมิตรภาพ สู่โลกสมัยใหม่--บรรณนานุกรม--ภาคผนวก--นิราศหนองคาย--จากที่ราบสูงโคราช ลงที่ราบลุ่มภาคกลาง เส้นทางดึกดำบรรพ์ ในนิราศหนองคาย--นิราศทัพเวียงจันท์

ผู้แต่ง

ขรรค์ชัย บุนปาน และสุจิตต์ วงษ์เทศ

หัวเรื่อง

ทรัพยากรสารสนเทศ

หมวดหมู่

ศาสนสถาน

คำสำคัญ

นครราชสีมา, ประวัติศาสตร์

ข้อมูลการติดต่อ

ที่อยู่:ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ตำบลสุรนารี อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000
เว็บไซต์:https://clrem-opac.sut.ac.th/BibDetail.aspx?bibno=157869